An assessment of coliform and fecal coliform bacteria levels in surface water resources of Bangkok and vicinity area

Tepwitoon Thongsri, Kanya Muangkaew

Abstract


Coliforms and fecal coliform bacteria of surface water resources in Bangkok and vicinity areas were measured and assessed regarding pathogen contamination. 64 samples were taken from the Chao Phraya River, canals, and reservoirs during June to September, 2012. Coliforms and fecal coliform bacteria were enumerated by multiple-tube fermentation technique for members of the coliform group and estimated coliform concentration as MPN values [1]. Results indicated that the level of coliform and fecal coliform bacteria was in the range of <1.8 to 1.6 X 107 MPN/100 ml. It was found that 15.6 % of total samples, coliforms and fecal coliforms level was exceeded surface water quality standard class 2. [2] Furthermore, 39 % of total samples, coliforms and fecal coliforms level was exceeded surface water Class 3. Results revealed the overall sanitary quality of selected surface water resources in Bangkok and vicinity areas that it had been contaminated and must be treated and be improved for consuming purposes.

 

บทคัดย่อ


การตรวจวัดปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอร์มและฟีคัลโคลิฟอร์ม ในแหล่งนํ้าผิวดินเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อประเมินความสะอาดและความปลอดภัยของแหล่งนํ้าในช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน 2555 โดยสุ่มเก็บตัวอย่างนํ้าจาก แม่นํ้าเจ้าพระยา ลำคลอง และแหล่งนํ้า จำนวน 64 ตัวอย่าง ทดสอบตามวิธี Multiple-tube fermentation technique for members of the coliform group และประเมินปริมาณโคลิฟอร์มเป็นค่า Most Probable Number (MPN) index ต่อนํ้า 100 มล. ผลการวิเคราะห์ปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอร์มและฟีคัลโคลิฟอร์มด้วยวิธี MPN พบว่า การปนเปื้อนของแบคทีเรียโคลิฟอร์มและฟีคัลโคลิฟอร์มมีค่า MPN index ต่อนํ้า 100 มล. อยู่ระหว่าง <1.8 ถึง 1.6 X 107 เมื่อเทียบกับมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหล่งนํ้าผิวดินประเทศไทย พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 15.6 มีปริมาณโคลิฟอร์มและฟีคัลโคลิฟอร์มเกินค่ามาตรฐานคุณภาพนํ้าผิวดิน ประเภทที่ 2 และตัวอย่างร้อยละ 39 มีปริมาณโคลิฟอร์มและฟีคัลโคลิฟอร์มเกินค่ามาตรฐานคุณภาพนํ้าผิวดิน ประเภทที่ 3 งานวิจัยนี้บ่งชี้ภาพรวมคุณภาพของแหล่งนํ้าผิวดิน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่สุ่มเก็บตัวอย่างศึกษาว่าอาจจะมีการปนเปื้อนของเชื้อโรคในระบบทางเดินอาหารต้องผ่านการฆ่าเชื้อและปรับปรุงคุณภาพนํ้า ก่อนนำมาใช้ประโยชน์เพื่อการอุปโภคบริโภค


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.